อาเซียนก่อตั้งขึ้นเมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2504 โดยเริ่มใช้ชื่อว่าสมาคมอาสา สมาชิกผู้ก่อตั้ง 3 ประเทศ ได้แก่ ไทย มาเลเซีย และฟิลิปปินส์ ภายหลังได้ถูกยกเลิกไป
ในปี เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน "ปฏิญญากรุงเทพ" (The Bangkok declaration) โดยผู่้ก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่
1. นายอาดัม มาสิก รัฐมนตรีต่างประเทศอินดดนีเซียอาเซียน
2. นายตุน อับดุล ราซัก บิน ฮุสเซ็น รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหมและ
รัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติมาเลเซีย
3. นายราซิโซ รามอส รัฐมนตรต่างประเทศ ฟิลิปปินส์
4. นายเอส ราซารัตนัม รัฐมนตีต่างประเทศสิงคโปร์
5. พันเอก (พเศษ) ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีต่างประเทศไทย
ปัจจุบันอาเซียนมีประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 10 ประเทศ ตามลำดับการเข้าร่วมเป็นสมาชิก ดังนี้
บรูไนดารุสซาลาม เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 7 มกราคมพ.ศ. 2527
เวียดนาม เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
ลาว และพม่า เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540
กัมพูชา เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542
อาเซียนก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ
ที่มา:
http://www.mfa.go.th/ กระทวงการต่างประเทศ
http://th.wikipedia.org/wiki/ วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี
ในปี เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม พ.ศ. 2510 ได้มีการลงนามใน "ปฏิญญากรุงเทพ" (The Bangkok declaration) โดยผู่้ก่อตั้ง 5 ประเทศ ได้แก่
1. นายอาดัม มาสิก รัฐมนตรีต่างประเทศอินดดนีเซียอาเซียน
2. นายตุน อับดุล ราซัก บิน ฮุสเซ็น รองนายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีกลาโหมและ
รัฐมนตรีกระทรวงพัฒนาการแห่งชาติมาเลเซีย
3. นายราซิโซ รามอส รัฐมนตรต่างประเทศ ฟิลิปปินส์
4. นายเอส ราซารัตนัม รัฐมนตีต่างประเทศสิงคโปร์
5. พันเอก (พเศษ) ถนัด คอมันตร์ รัฐมนตรีต่างประเทศไทย
ปัจจุบันอาเซียนมีประเทศสมาชิกเพิ่มขึ้นเป็น 10 ประเทศ ตามลำดับการเข้าร่วมเป็นสมาชิก ดังนี้
บรูไนดารุสซาลาม เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 7 มกราคมพ.ศ. 2527
เวียดนาม เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 28 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
ลาว และพม่า เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2540
กัมพูชา เข้าร่วมเป็นสมาชิกเมื่อวันที่ 30 เมษายน พ.ศ. 2542
อาเซียนก่อตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อความร่วมมือในการเพิ่มอัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ การพัฒนาสังคม วัฒนธรรมในกลุ่มประเทศสมาชิก และการธำรงรักษาสันติภาพและความมั่นคงในภูมิภาค และเปิดโอกาสให้คลายข้อพิพาทระหว่างประเทศสมาชิกอย่างสันติ
ที่มา:
http://www.mfa.go.th/ กระทวงการต่างประเทศ
http://th.wikipedia.org/wiki/ วิกิพีเดียสารานุกรมเสรี